แฟ้มสะสมผลงาน สัปดาห์ที่ 3
1.เนื้อหา / กิจกรรม
1.1 กิจกรรมกลุ่มการค้นหาข้อมูล Model of Communication
1.2 รายละเอียดและการนำ Model of Communication Berlo's S-M-C-R ไปประยุกต์ใช้กับสาขาวิชา
2.1 ทักษะการสื่อสาร การถามตอบ กล้าแสดงความคิดเห็นและการทำงานเป็นกลุ่ม
2.2 ทักษะการค้นคว้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
2.3 การประยุกต์ใช้ Model ในการสอนสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
2.4 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน
3.ภาพ / วิดีโอประกอบ
3.1
4.สรุป
''จากกิจกรรมประจำสัปดาห์ที่ 3 ''
ความรู้ที่ได้
1. ทักษะการสื่อสาร การถามตอบ กล้าแสดงความคิดเห็นและการทำงานเป็นกลุ่ม
2. ทักษะการค้นคว้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
3. การประยุกต์ใช้ Model ในการสอนสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน
โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้
1.การประยุกต์ใช้ Model of Communication กับการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
-S- Source(ผู้ส่ง/ผู้สอน)จะต้องมีองค์ประกอบดังนี่
- Communication Skills ทักษะในการสื่อสารระหว่างบทเรียนของผู้สอนและผู้เรียน
- Attitudes ทัศนคติที่ดีต่อบทเรียนและต่อผู้เรียน
- Knowledge ความรู้ที่จะนำไปสอนให้แก่ผู้เรียน
- Social System การจัดระบบสังคมภายในชั้นเรียน
- Culture วัฒนธรรมที่ควรมีและควรเกิดขึ้นในชั้นเรียนทั้งต่อผู้สอนและผู้เรียน
-M- Message(ข้อความ/สาร)
- เนื้อหารายวิชาที่จะสอน - ส่วนเสริม - โครงสร้าง
- องค์ประกอบ - รหัส/ตีความ
-C- Channel(ช่องทาง)
- ตา คือการมองเห็นและรับรู้สิ่งที่อยู่รอบตัว
- หู คือการรับรู้โดยการฟังเสียงที่ได้ยิน
- จมูก เป็นการรับรู้ผ่านการดมกลิ่น
- มือ/สัมผัส คือการได้สัมผัสหรือจับต้องเป็นการรับรู้ทางผิวหนัง
- ลิ้น คือการรับรู้จากการรับรสชาติโดยการชิม
-R- Receiver(ผู้รับ/ผู้เรียน)
จำเป็นต้องผ่านการวัดและประเมินผลตามที่ผู้สอนได้กำหนดไว้ มีดังต่อไปนี้
- ผู้เรียนมีความสามารถในสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีในการเรียน
- ผู้เรียนได้รับความรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่ถูกต้อง
- ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
- ผู้เรียนได้รับวัฒนธรรมที่ดีงาม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น